หลายครั้งเมื่อปัญหาที่อยู่
การ ‘ คิดนอกกรอบ ‘ ( Lateral Thinking ) คือทางออกซึ่งบุคคลที่ประสบ
หนึ่งในตัวอย่างการคิดนอกกร
ในเดือนก.ค. 1980 IBM ต้องการระบบปฏิบัติการ 16-bit สำหรับคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ท
แต่การเจรจาที่ล้มเหลว ทำให้ IBM เบนเข็มมาทาบทาม Microsoft แทน
ขณะที่ เกตส์ และ อัลเลน ก็ตอบรับข้อเสนอทันที ทั้งที่เวลานั้น ทั้งคู่ยังไม่ได้เริ่มพัฒนาระบบปฏิบัติ
และการจะสร้าง DOS ที่ใช้งานได้จริง ก็ต้องใช้ทั้งเวลาและเงินทุนจำนวนมาก ซึ่งเกินกำลังของสตาร์ทอัพเ
เพื่อให้ได้ระบบปฏิบัติการไปขายแก่ IBM ที่ต้องการ DOS ไปใช้กับสินค้าของตนให้เร็วที่สุด
ทางเลือกของ เกตส์ และ อัลเลน คือการติดต่อขอซื้อ ‘QDOS’ จากบริษัท Seattle Computer Products (SCP) ในราคา 50,000 ดอลลาร์ มาปรับแต่งให้เข้ากับสเปคเค
ด้วยไหวพริบของทั้งคู่ นำไปสู่การ “คิดนอกกรอบ” ดัวยการขายของที่ยังไม่มี และเปลี่ยนจาก “สร้าง” เป็น “ซื้อ” ทำให้ดีลนี้ลุล่วงด้วยดี
แม้จะเป็นทางออกที่ ‘ไม่เป็นเส้นตรง’ ก็ตาม
แต่ที่เหนือชั้นไปกว่านั้น คือการเจรจาต่อรองกับ IBM เพื่อให้กรรมสิทธิ์ในระบบปฏิบัติการ ยังเป็นของ Microsoft จนมันกลายเป็น ‘ห่านทองคำ’ ของบริษัทในเวลาต่อมา
ทั้งคู่เลือกขายเป็นไลเซนส์
เพราะขณะที่คนส่วนใหญ่ในอุต
เกตส์ และ อัลเลน กลับคิดต่าง เห็นว่า “ซอฟต์แวร์” ต่างหากที่จะทำเงินให้พวกเข
เพราะจากนั้นไม่นาน ก็มีบริษั
และแทบทั้งหมด ก็ต้องการ “ซอฟต์แวร์” ซึ่งระบบปฏิบัติการของ เกตส์ และ อัลเลน คือระบบที่บริษัทเกือบทั้งห
จนในที่สุด “ซอฟต์แวร์” กลายเป็นสิ่งที่ทำเงินมากกว
แม้แต่ IBM ผู้ผลิต “ฮาร์ดแวร์” รายแรกที่ใช้ระบบปฏิบัติการ
ขณะที่การแก้ปัญหาด้วยการคิด
เมื่อระบบปฏิบัติการ Windows นั้น กลายเป็น “ห่านทองคำที่ออกไข่ไม่มีวันหมด อย่างสม่ำเสมอ”
เรียบเรียงจาก
The Rise of DOS: How Microsoft Got the IBM PC OS Contract’
AHEAD ASIA นวัตกรรม ล้ำหน้า