ทุกครั้งที่เอ่ยถึงความตกต่ำของ Blockbuster ผู้ให้บริการเช่าวิดีโอและดีวีดียักษ์ใหญ่จากยุค 90 หนึ่งชื่อที่มักถูกหยิบมาประกบคู่มวยเสมอ คือมือวางอันดับหนึ่งในธุรกิจวิดีโอสตรีมมิ่งยุคปัจจุบัน – Netflix
ยักษ์ใหญ่แห่งธุรกิจสตรีมมิ่ง
ณ ปัจจุบัน Netflix ยิ่งใหญ่ขนาดไหนนั้น ลองดูได้จากข้อมูลเมื่อเดือนมกราคมที่ผ่านมา มีผู้สมัครใช้บริการทั่วโลก อยู่ที่ 117.6 ล้านคน
และทั้งหมดใช้เวลาในการรับชมต่อสัปดาห์ รวมกันที่ราว 1,000 ล้านชั่วโมง
หรือเฉลี่ยง่ายๆว่า ในหนึ่งสัปดาห์ แต่ละคนใช้เวลาราว 8.5 ชั่วโมง คิดเป็น 1.2 ชั่วโมงต่อวัน อยู่หน้าจอ เพื่อชมคอนเทนต์ของบริษัท
ขณะที่รายได้ของบริษัท เฉพาะในปี 2017 นั้น สูงถึง 11,690 ล้านดอลลาร์ คิดเป็นเงินไทย กว่า 3 แสนล้านบาท
ก้าวที่ผิดพลาดของ Blockbuster
ส่วนเหตุผลหลักๆที่เรื่องราวระหว่าง สองบริษัทนี้ถูกหยิบยกมาพูดถึง ในฐานะกรณีศึกษาคลาสสิคเสมอ
คือการที่ Blockbuster ปฏิเสธที่จะซื้อกิจการของ Netflix ในปี 2000 ก่อนที่ชะตาของบริษัทจะพลิกผันแบบคนละขั้วในเวลาต่อมานั่นเอง
เพราะย้อนไปในช่วงที่ธุรกิจเช่าวิดีโอ (และดีวีดี) บูมถึงขีดสุด ต้นทศวรรษที่ 90
Blockbuster เคยมีสาขาถึง 9,904 แห่งทั่วโลก กับรายรับปีละ 5,900 ล้านดอลลาร์
เคล็ดลับความสำเร็จในช่วงแร
แต่ ‘สูตรสำเร็จ’ ที่ใช้ได้กับยุคสมัยหนึ่ง ไม่ได้แปลว่าจะได้ผลไปตลอดก
เพราะการยึดมั่นกับวิธีเดิม
และเลวร้ายถึงขั้นกลายเป็นอ
50 ล้านดอลลาร์ที่ถูกเมิน

และขณะนั้น Netflix ยังเป็นเพียงสตาร์ทอัพเล็กๆ
ด้วยความที่เป็นธุรกิจขนาดเ
ทางออกในความคิดของ Reed Hastings ซีอีโอและผู้ก่อตั้ง คือขายธุรกิจให้กับ Blockbuster ในราคา 50 ล้านดอลลาร์
แลกกับการช่วยพัฒนาระบบออนไ
แต่การเจรจาไม่เป็นผล เมื่อ John Antioco ซีอีโอของ Blockbuster ในตอนนั้น เชื่อว่า business model ของตน (ให้ลูกค้ามาเช่าที่ร้าน) คือรูปแบบการทำธุรกิจที่ดีท
เขาหัวเราะเยาะข้อเสนอของ Hastings กับพรรคพวก ระหว่างการพูดคุยในออฟฟิศขอ
โดยไม่ได้มองถึงอนาคตว่า “เกมธุรกิจ” กำลังจะเปลี่ยนไป
“พวกเขามองเราเป็นแค่ธุรกิจ
เวลาเปลี่ยน เกมเปลี่ยน
แม้ในเวลาต่อมา Blockbuster จะพยายามเดินตามในธุรกิจ DVD-by-mail และเปิดคีออสก์สำหรับให้เช่
แต่สถานะในเวลานั้น ก็ตกเป็น “ผู้ตาม” ไม่ใช่ “ผู้นำ” อีกต่อไป
เมื่อเทคโนโลยีด้านอินเตอร์เน็ตพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ เช่นเดียวกับอุตสาหกรรม DVD เริ่มเข้าสู่ยุคตกต่ำ
Hastings และทีมงาน เล็งเห็นอะไรบางอย่าง จึงเริ่มทดลองให้บริการวิดีโอสตรีมมิ่งผ่านอินเตอร์เน็ต
และค่อยๆขยับมาสู่การเป็นผู้ผลิตคอนเทนต์ด้วยตัวเอง กับซีรีส์ต่างๆที่เรียกว่า “Netflix Original” บริษัทก็โด่งดัง จนราคาหุ้นในตลาดหลักทรัพย์พุ่งสูงอย่างรวดเร็ว
ขณะที่ Blockbuster ก็ยังดื้อแพ่ง ไม่รีบปรับตัวตามความเปลี่ยนแปลง
กอปรกับความผิดพลาดในการซื้
ก็ยิ่งฉุดให้การเงินของบริษัทระส่ำหนัก กระทั่งต้องยื่นเรื่องขอล้ม
ชะตาที่แตกต่าง
ขณะที่ Netflix ซึ่งมีมูลค่าเพียง 50 ล้านดอลลาร์ในการเสนอขายเมื
ปัจจุบัน รั้งอันดับ 5 Innovative Companies ในการจัดอันดับโดย Forbes ด้วยมูลค่า 61,600 ล้านดอลลาร์
หรือเพิ่มจากวันนั้นถึง 1,232 เท่า
ส่วน Blockbuster แม้ยังไม่ถึงกับสูญพันธุ์ แต่ก็เหลือสาขาไม่กี่แห่ง ในรัฐอล
เพราะเป็นแถบที่ค่าบริการอิ
คู่แข่งตัวจริง
ตัดกลับมา ณ ปัจจุบัน เมื่อผู้สื่อข่าวตั้งคำถามกับ Hastings ว
คำตอบจากซีอีโอรายนี้ กลับไม่ใช่ AmazonPrime หรือ HBO อย่างที่หลายคนคิด
“การนอนหลับ” ของผู้บริโภคต่างหาก คือศัตรูตัวฉกาจของยักษ์ใหญ
เพราะปกติ คนเรามักมีตารางเวลาที่ตายต
ส่วนที่เหลือจึงเป็นเวลาว่า
โจทย์ของพวกเขา จึงอยู่ที่ต้องทำยังไง เพื่อดึงให้ผู้บริโภค ยอมสละเวลาเหล่านั้น หันมาใช้เวลากับคอนเทนท์ของ
และวิธีที่ดีที่สุด ก็คือต้องทำคอนเทนท์ให้สนุก
อย่างที่หลายคนกำลังติดงอมแ
เรียบเรียงจาก
10 Worst Business Decisions Ever Made
Epic Fail: How Blockbuster Could Have Owned Their Biggerst Enemy
Blockbuster has survived in the most curious of places — Alaska
Worst Company Disasters! | Top 6 Blunders
อ่านเพิ่มเติม
Blockbuster จ่อสูญพันธุ์ ในสหรัฐเหลือสาขาเดียว
เน็ตฟลิกซ์ มูลค่าแตะแสนล้านดอลลาร์
ดิสนีย์ vs เน็ตฟลิกซ์: เมื่อพันธมิตรกลายเป็นคู่แข่ง
AHEAD ASIA นวัตกรรม ล้ำหน้า