หนึ่งในอุตสาหกรรมยุคใหม่ที
ในกลุ่มหลังนั้น ชื่อที่เราคุ้นเคยกันดีก็คื
แต่นั่นไม่ได้แปลว่า Uber จะเป็นผู้ชนะเสมอไป ในหลายแห่งนั้น เมื่อถึงเวลาลงสนาม ต้นตำรับ ride-hailing เองก็ไม่สามารถเจาะกำแพงเหล็กของเจ้าถิ่นได้ เหมือนในกรณีล่าสุดที่ต้องยอมขายกิจการในอาเซียนให้กับ Grab
เช่นเดียวกับในจีน ที่เคยพยายามเข้าไปเปิดตลาดตั้ง
เพราะต้องชนกับกระดูกชิ้นโต อย่าง Didi Chuxing ที่แข็งแกร่งไม่น้อยหน้าไปกว่ากัน
เพราะหากว่า Uber คือหมายเลขหนึ่งในสายนี้ Didi Chuxing ก็น่าจะอยู่ในอันดับสอง ด้วยมูลค่าราว 56,000 ล้านดอลลาร์ ภายหลังการระดมทุนครั้งล่าส
ขณะที่รายชื่อของนักลงทุนรา
นับว่าเป็นเรื่องน่าทึ่งมาก สำหรับการเติบโตอย่างก้าวกระโดด
สมัยเรียน Cheng ไม่จัดว่าเป็นคนที่โดดเด่นด้านการเรียน เขาจบด้านบริหารธุรกิจจาก Beijing University of Chemical Technology ซึ่งไม่ใช่มหาวิทยาลัยชั้นน
และเป็นที่นี่เองที่ Cheng ได้แสดงฝีมือ จนเติบโตเป็นถึงระดับผู้จัด
ระหว่างนี้ Cheng ต้องเดินทางไปไหนมาไหนบ่อยขึ้น เพื่อประชุมงาน และพบปัญหาคล้ายๆกับที่ Travis Kalanick หรือเจ้าของ ride hailing service คนอื่นๆเคยประสบ
นั่นคือไม่สามารถเรียก
อย่างไรก็ตาม ในช่วงแรก Didi ก็ไม่ได้รับความนิยมเท่าที่คว
ทางแก้ของ Cheng จึงต้องจ้างผู้โดยสารให้เรี
กระทั่งปลายปี 2012 พายุหิมะในจีนทำให้ผู้โดยสา
และเมื่อประสบความสำเร็จถึงระดับหนึ่ง มูลค่าของ Didi ก็ดึงดูดให้ Tencent Holdings ควักเงินร่วมลงทุนด้วยเงินถึง 15 ล้านดอลลาร์ และยังสนับสุนด้วยการใช้ Wechat แพลตฟอร์ม ที่มีผู้ใช้งาน
ในช่วงแรกนั้น การชิงความเป็นหนึ่งในธุรกิจ Ride-hailing ของจีน ยังเป็นการขับเคี่ยวกัน ระหว่าง Didi กับ Kuaidi Dache ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจาก Alibaba
แต่ไม่นาน สถานการณ์ก็เปลี่ยนไป เมื่อ Uber (ซึ่งได้รับทุนจาก Baidu คู่แข่งของ Alibaba และ Tencent) เข้ามารุกตลาดจีน ในปี 2014
การแข่งขันระหว่างผู้ให้บริ
ทางเลือกของ Didi Dache และ Kuaidi Dache เพื่อเอาชนะศึกนี้ คือการควบรวมเข้าด้วยกัน เป็น Didi Kuaidi ในช่วงต้นปี 2015 และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น
การขับเคี่ยวระหว่างสองบริษ
จนสุดท้าย เมื่อ Uber เห็นว่าไม่สามารถเอาชนะในสง
แม้มูลค่าปัจจุบัน Didi จะยังเป็นรอง Uber แต่ในอนาคต สถานการณ์อาจเปลี่ยนไปก็ได้ เพราะที่ผ่านมา Didi ได้กระจายการลงทุนไปยัง Ride-hailing อื่นๆทั่วทุกมุมโลก ตั้งแต่ยุโรป ละตินอเมริกา ไปจนถึงแอฟริกา
เช่นเดียวกับการได้รับเงินทุนสนับสนุนจาก Softbank Group ของ Masayoshi Son นักธุรกิจชาวญี่ปุ่น ผ่านทางกองทุน Vision Fund ซึ่งมักเลือกลงทุนกับสตาร์ทอัพหรือบริษัทเทคโนโลยีที่มีแนวโน้มจะไปได้ไกลเท่านั้น
ขณะที่ความพ่ายแพ้ของ Uber ก็เป็นเพียงหนึ่งในกรณีศึกษาข
ส่วนในมุมกลับกันนั้น จีน ก็มีเหตุผลของตัวเองที่จะฟูมฟักความพร้อมขององค์กรเอกชนในประเทศ เพื่อรอวันผงาดในเวทีโลกต่อไป
ทีมงาน AHEAD.ASIA เคยมีโอกาสพูดคุยกับผู้บริห
แต่เหตุผลที่่ยังเลือกใช้ภา
เหลือเพียงรอวันให้ทุกอย่างสุกงามที่จะผงาดขึ้นมาเป็นเบอร์หนึ่งโลกนั่นเอง
Better be AHEAD
#AHEADASIA
เรียบเรียงจาก
Didi Chuxing, a Chinese Rival to Uber, Raises $4 Billion
Didi’s Cheng Wei Is Forbes Asia’s 2016 Businessman Of The Year
How China’s Ride-Hailing King DiDi Is Taking Over The World
ติดตาม #Breakfast4Brain ได้ทุกเช้าตรู่วันจันทร์ถึง
ศุกร์ ที่เพจ AHEAD ASIA
หากถูกใจอย่าลืมกดแชร์ กดไลค์ คอมเมนท์ แนะนำติชม กดติดดาว หรืออะไรที่สบายใจเพื่อให้กำลังใจทีมงาน AHEAD.ASIA หาเรื่องราวดีๆมาให้คุณรู้ เพื่อก้าวไปข้างหน้าด้วยกัน